เหตุที่อ้างอิงม้า เนื่องจากเป็นสัตว์พาหนะ ที่มนุษย์ใช้เดินทางและขนส่งสิ่งของได้สะดวกรวดเร็ว
ไม่ใช้ช้าง เพราะเดินช้า ไม่ใช้เสือจากัว เพราะดุร้าย
แนวทางการบริหารเงิน เพื่อช่วยควบคุมการใช้เงิน
ใช้วิธีการคำนวณแบบนี้จะทำให้รู้ว่า เราใช้ได้วันละกี่บาท บังคับตัวเองให้ใช้แค่นั้น พอค่าใช้จ่ายมา จะได้มีเงินเหลือพร้อมจ่าย ไม่ต้องไปหยิบยืมคนอื่นให้เป็นหนี้สินเพิ่ม เรียกว่า ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่ใช้จ่ายเกินตัว ไม่เป็นหนี้เพิ่ม นั่นเอง
ในส่วนของ “ค่ากิน” ที่ไม่เอามาคิดรวมกับ "ค่าใช้จ่าย" ก็เพราะว่า เราสามารถควบคุมมันได้ บางวันกินเยอะ บางวันกินน้อย อยากให้มีเงินเหลือเก็บก็กินน้อยๆ ค่ากินเลยไปอยู่ในส่วนของเงินที่เราสามารถใช้ได้ในแต่ละวันแทน
แต่ถ้าใครที่ค่าใช้จ่าย มากกว่ารายได้ ที่เรียกกันติดปากว่า "ติดลบ" ก็ควรลดค่าใช้จ่ายลง แต่ถ้าลดไม่ได้ ก็ต้องต้องหารายได้เพิ่ม ไม่งั้นหนี้จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ยังไงก็เป็นกำลังใจให้นะ
ลองเอายอดของตัวเอง มาคำนวณดูนะ หวังว่าสาระนี้ จะเป็นประโยชน์กับสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ ม.อ.อ. และผู้สนใจทุกคน (ที่ไม่อยากเป็นหนี้ใค)
ขอบคุณ
Jam Nisa facebook
เยน ชิบูซาวะ เออิจิ บิดาแห่งเศรษฐกิจญี่ปุ่นยุคใหม่ ผู้มีส่วนร่วมในการก่อตั้งธนาคาร รวมทั้งบริษัทใหญ่ๆ ในช่วงฟื้นฟูเมจิ มีส่วนสำคัญในการก่อตั้งธนาคารแห่งชาติญี่ปุ่น
สึดะ อูเมโกะ ผู้บุกเบิกการศึกษาของสตรีในญี่ปุ่น เป็นผู้หญิงญี่ปุ่นคนแรก ๆ ที่สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ จบแล้วกลับมาเคลื่อนไหว พัฒนาความเป็นอยู่ของผู้หญิงญี่ปุ่นให้ดีขึ้น
คิตาซาโตะ ชิบาซาบูโระ บิดาแห่งการแพทย์สมัยใหม่ของญี่ปุ่น เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านแบคทีเรีย มีส่วนสำคัญในการคิดค้นเซรั่มแบคทีเรียบาดทะยัก
1.จักรพรรดิไม่ยุ่งการเมือง มีความสำคัญเชิงสัญลักษณ์เท่านั้น อีกทั้งหลังแพ้สงครามโลกอำนาจจักรพรรดิก็ลดลงเป็นอย่างมาก จากการไปมีส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดสงคราม การเอาจักรพรรดิมาใส่ธนบัตร ประเทศอื่นอาจมองได้ว่าคนญี่ปุ่นยังบูชาจักรพรรดิอยู่ คงไม่ดีเท่าไหร่ในแง่การเมืองระหว่างประเทศ
2.จักรพรรดิศักดิ์สิทธิ์เกินไปที่จะมาอยู่ในธนบัตรที่คนญี่ปุ่นบางกลุ่มมองว่าสกปรก
ขอบคุณ : Jedsada Chunhapratankul